วันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2551

7 ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับผิว

ความเชื่อผิด ๆ ที่ 1 การใช้ผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้นจะทำให้ได้ผลดียิ่งขึ้นความจริง : “จากผลพิสูจน์ส่วนใหญ่ การประโคมครีมบำรุงต่าง ๆ เข้าไปมาก ๆ แค่จะทำให้คุณต้องไปที่คลินิกรักษาผิวเร็วขึ้นเท่านั้น” น.พ.เคนเน็ท เบีย ผู้วชาญด้านโรคผิวหนังจากปาล์มบีช ในฟลอริดากล่าว “ทุกอย่างที่ประกอบไปด้วยส่วนผสม จะทำให้เกิดการระคายเคืองของผิว ถ้าคุณใช้มันมากเกินไป” แต่ส่วนผสมที่ได้ผลมากที่สุดคือ วิตามินซี เรตินอล และกรดอัลฟาไฮดรอคไซต์ ซึ่งทำให้ผิวนุ่มขึ้นและช่วยลดริ้วรอยต่าง ๆ และเบต้าไฮดรอคไซต์ (คล้ายสารซาลิไซลิค Salicylic) และเบนซอยเปออ็อคไซด์ ซึ่งจะช่วยทำให้ริ้วรอยหายไป ถ้าคุณใช้อะไรก็ตามที่มีส่วนประกอบของสารเหล่านี้ ให้ใช้แค่พอประมาณเท่านั้น และใช้บริเวณที่จำเป็น เช่น ถ้าคุณใช้ครีมทาใต้ตาก็แค่แตะเนื้อครีมให้เท่า ๆ กับเม็ดถั่วเม็ดหนึ่งเท่านั้นความเชื่อผิด ๆ ที่ 2 โทนเนอร์เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้ (ขาดไม่ได้)ความจริง : “90% ไม่ควรจะใช้โทนเนอร์” ราเนลล่า เฮิร์ช ผู้วชาญด้านโคผิวหนังจาดแคมบริดจ์ ในแมชชาซูเซจ กล่าว “ในสถิติส่วนใหญ่ โทนเนอร์แค่ขัดความมันบนใบหน้าออกจนหมดและทำให้หน้านุ่ม” ดังนั้นแค่ล้างหน้าธรรมดาก็เพียงพอสำหรับการขจัดสิ่งสกปรกออกจากใบหน้า แต่ถ้ายังสงสัยเกี่ยวกับคราบดำ ๆ ที่เกิดขึ้นบนก้อนสำลีหลังจากเช็ดหน้า สั่งนั้นไม่ใช่สิ่งสกปรกแต่เป็นน้ำมันบำรุงผิวหน้าที่เปลี่ยนเป็นสีดำเมื่อกระทบกับอากาศ ดังนั้นผิวแบบไหนจึงควรจะใช้โทนเนอร์? แค่กลุ่มที่มีใบหน้ามันมาก ๆ หรือมีปัญหาเกี่ยวกับสิวบนใบหน้ามาก ๆ และถ้าคุณอยู่ในกลุ่มนี้ลองมองหาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอลล์และชาลีไซลิค ความเชื่อผิด ๆ ที่ 3 ครีมกันแดดมีส่วนผสมของ SPF ยิ่งมีมากเท่าไร ยิ่งช่วยปกป้องคุณจากแสงแดดได้มากเท่านั้นความจริง : ถ้าการใช้มอยเจอร์ไรเซอร์ที่มีค่า SPF ที่ 30 ควบคู่ไปกับครีมรองพื้นที่มีค่า SPF ที่15 และตบท้ายด้วยแป้งพัฟที่มีค่า SPF ที่ 10 คุณอาจจะคิดว่าถ้ารวมทั้งหมดแล้วเท่ากับ 55 ใช่ไหม? คำตอบคือไม่ใช่ ระหว่างที่คุณกำลังปลื้มกับการคิดตัวเลขจากค่า SPF ในการปกป้องคุณจากแสงแดด มันอาจจะโชคไม่ดีนักที่ค่า SPF ไม่สามารถเอามารวมกันได้ ดังนั้นถ้าคุณทาผิวตามชั้นของ SPF คุณก็อาจจะได้แค่ปกป้องผิวของคุณ จากตัวเลขสูงสุดของผลิตภัณฑ์ที่คุณได้ทาลงไป จากกรณีตัวอย่างคือ ค่า SPF 30+15+10 คุณก็จะได้ SPF ที่ 30 คือค่าสูงสุดเท่านั้นความเชื่อผิด ๆ ที่ 4 คุณอาจจะเสพลิปบาล์มรสโปรดของคุณได้ความจริง : ไม่มีทฤษฏีไหนบอกว่าส่วนประกอบของลิปบาล์มจะยิ่งทำให้ริมฝีปากของคุณแห้งมากขึ้น “ลิปบาล์มจะช่วยทำให้ริมฝีปากของคุณดูน่าสัมผัสและนุ่มขึ้น ดังนั้นเราจึงพยายามเติมมันบ่อย ๆ ทุกครั้งที่รู้สึกว่ามันถูกลบออก” ผู้วชาญทางด้านโรคผิวหนัง โดริส เด จากนิวยอร์ค กล่าว “แต่มันเป็นไปไม่ได้ที่จะทำให้เราเสพติดลิปบาล์ม” เรื่องจริงคือ ลิปบาล์มจะหมดไปบ่อย ๆ จากการเลียปาก “เมื่อความชุ่มชื้นหายไป ร่างกายจะทำให้ชุ่มชื้นกลับมาจนกลายเป็นนิสัย การเลียปากคือความต้องการเพิ่มความชุ่มชื้นกลับคืนมา” น.พ. เบีย อธิบาย ดังนั้นการหยุดการเลียริมฝีปากและควรเริ่มต้นด้วยการทาครีมคอติโซนบนริมฝีปากคุณ และทาทับด้วยวาสลีน ทำอย่างนี้ 1 อาทิตย์ จากนั้นก็เริ่มใช้ลิปบาล์มที่มีส่วนผสมของวาสลีน กลีเซอรีน หรือน้ำมันแร่ที่ทำให้ลิปบาล์มไม่หลุดออกง่าย ๆ และไม่ทำให้ริมฝีปากเกิดการระคายเคืองความเชื่อผิด ๆ ที่ 5 คุณจะไม่เห็นผล ถ้าไม่ใช้ผลิตภัณฑ์สำหรับผิวเป็นยี่ห้อเดียวกันทั้งหมดความจริง : นี่เป็นคำตอบที่พนักงานขายบอกคุณก่อนจะถามถึงบัตรเครดิตของคุณ แต่คุณอาจจะช่วยปกป้องผิวของคุณได้มากยิ่งขึ้น โดยการเลือกผลิตภัณฑ์จากหลาย ๆ ยี่ห้อ “มันมีผลิตภัณฑ์บำรุงผิวจากบริษัทดี ๆ อีกมากมาย ไม่มีใครสามารถครองตลาดได้คนเดียว เดวิด แบงค์ ผู้วชาญด้านโรคผิวหนังจาก เมาท์ดิสโก ในนิวยอร์ค กล่าว “บางบริษัทอาจะผลิตมอยเจอไรเซอร์ได้ยอดเยี่ยมมาก แต่อีกที่หนึ่งอาจจะผลิตครีมล้างหน้าที่มีประสิทธิภาพเจ๋งสุด ๆ แต่คุณควรหาสิ่งที่เหมาะกับคุณที่สุดและคละกันก็ได้” ดังนั้น สะสมผลิตภัณฑ์ตัวอย่างต่าง ๆ ไว้ เพื่อที่คุณจะได้ทดลองหลาย ๆ แบบหลาย ๆ ยี่ห้อ โดยไม่ต้องเปลืองเงินความเชื่อผิด ๆ ที่ 6 ครีมทาตาใช้ครีมอื่นแทนไม่ได้ความจริง : ผิวหนังรอบ ๆ ตาเป็นส่วนที่บางที่สุดในร่างกายคุณ ดังนั้นมันก็ต้องการความพิเศษมากกว่าส่วนอื่น แต่มันไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องเปลืองเงินเพิ่มขึ้นในการซื้อกระปุกครีมสำหรับทาตา “ถ้าคุณใช้ครีมบำรุงหน้าที่มีส่วนประกอบของน้ำมาก ๆ มันก็ไม่มีเหตุผลที่คุณจะไม่ใช้มันกับตาของคุณ” น.พ. แบงค์ กล่าว “ถ้ามีคุณก็ไม่ต้องซื้อครีมทาตาให้สิ้นเปลือง” และในการหลีกเลี่ยงปัญหาอื่น ๆ ที่จะตามมา เช่น การแพ้หรือระคายเคือง ควรตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่า มอยส์เจอร์ไรเซอร์ของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ไม่มีส่วนผสมของน้ำหอม เพราะมันเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทำให้ผิวรอบตาเกิดการระคายเคือง และถ้ามันมีส่วนผสมของสารป้องกันรังสีจากแสงแดดอย่าง ซิงค์ออกไซด์และไทเทเนียมไดออกไซด์ สารเหล่านี้แทบจะไม่ทำให้ตาระคายเคืองได้เท่าสารเคมีอย่าง avobenson และ oxybenzone เหนือสิ่งอื่นใด จำไว้ว่าสำหรับดวงตาให้ใช้นิ้วนางเท่านั้นในการทาผิวบริเวณรอบดวงตาความเชื่อผิด ๆ ที่ 7 มาสคาร่าของคุณอาจจะเสีย แต่ไม่ใช่สำหรับครีมบำรุงผิวความจริง : โชคไม่ดีนักที่ครีมบำรุงผิวสำหรับกลางคืนที่คุณวางไว้ในตู้มา 2 ปีแล้ว อาจจะไม่ค่อยให้ผลอะไรกับคุณในตอนนี้ เพราะหากปล่อยทิ้งไว้ในระยะเวลานาน ๆ ส่วนผสมของครีมบำรุงผิวหน้าจะมีคุณภาพต่ำลง ทำให้ไม่ได้ผลดีเหมือนเดิม ยิ่งถ้าผลิตภัณฑ์ค้างนานมากเกินไป อาจจะทำให้ส่งผลในการเกิดแบคทีเรีย “กฎที่ต้องจำไว้ก็คือ ควรเปลี่ยนผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้าต่าง ๆ ทุก ๆ ปี” ผู้วชาญด้านโรคผิวหนัง เอเรียล คาวาร์ จากนิวยอร์ค กล่าวและตอนนี้ผลิตภัณฑ์บางอย่างมากับป้าย และบอกว่าควรใช้ในเวลากี่เดือน (6 หรือ 12 หรือ 15 เดือน) และเริ่มนับจากเมื่อคุณเปิดมันออกมาใช้ แต่ทำอย่างไรถึงจะจำได้ว่าเริ่มใช้เมื่อไร ให้ใช้ปากกาเขียนวันที่ที่คุณเปิดเอาไว้ใต้ขวด จะช่วยย้อนความจำได้

Donald Duck



Donald Duck is one of the most favorite movie character ever. He has been in over 130 cartoons and his magazines are read all over the world. Together with his nephews, Huey, Dewey and Louie he has all kinds of adventures. As a tribute to the most famous duck in the world and for all the fans around the world, I have tried to make a page to celebrate the world of Ducktown! You can find here lots of colouring pages, pictures, wallpapers and games from Donald Duck, Daisy Duck, Scrooge, Huey, Dewey and Louie and the other characters who live in Ducktown!

One of the most popular of the Disney cartoon characters, Donald Duck made his debut in the Silly Symphony cartoon "The Wise Little Hen" on June 9, 1934. His fiery temper endeared him to audiences, and in the 1940s he surpassed Mickey Mouse in the number of cartoons reaching the theaters. Eventually, there were 128 Donald Duck cartoons, but he also appeared in a number of others with Mickey Mouse, Goofy, and Pluto. His middle name, shown in a wartime cartoon, is Fauntleroy. Clearly, the most significant factor that led to Mickey's super-stardom was his optimistic, cheerful, resilient character -- one very much like Walt's. The original voice of Donald was Clarence "Ducky" Nash, who was succeeded after 50 years by Disney artist Tony Anselmo. A daily Donald Duck newspaper comic strip began on February 7, 1938.

Donald Duck has a good heart and always has good intentions. Well, almost always. Actually, it's his second or third intentions that are the good ones, but by the time they surface Donald's already off and running in the wrong direction. He refuses to let anyone or anything stand in his way. It doesn't matter how much humiliation the world dishes out to him, Donald will take it and come back for more. He's a loser, not a quitter, and he'll go down fighting. This is a duck with one short fuse, and an amazing (if unintelligible) command of language, and when things don't go right, he goes ballistic. Yet after the storm is over and the tantrum is through, when faithful Daisy soothes his brow or his conscience finally catches up with him, even Donald can admit that there must be a better way. If only he could figure out what it is.

วันศุกร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551

รู้หรือไม่ว่าทำไมเข็มทิศจึงหันไปทางทิศเหนือเสมอ?





เข็มทิศ (magnetic compass) คือเครื่องมือสำหรับใช้หาทิศทาง มีเข็มแม่เหล็กที่แกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้าปัดมีส่วนแบ่งสำหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ (อักษร N หรือ น) เมื่อทราบทิศเหนือแล้วก็ย่อมหาทิศอื่นได้โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือเป็นทิศตะวันตก ด้านหลังเป็นทิศใต้ การบอกทิศทางในแผนที่โดยทั่วไป คือการบอกเป็นทิศที่สำคัญ 4 ทิศ คือทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกละเอียดเป็น 8,16 หรือ32ทิศก็ได้

Tangüis cotton


In 1901, Peru's cotton industry suffered because of a fungus plague caused by a plant disease known as "Cotton wilt" and " "Fusarium wilt" (Fusarium vasinfectum).[8] The plant disease, which spread throughout Peru, entered the plant by its roots and worked it's way up the stem until the plant was completely dried up. Fermín Tangüis a Puerto Rican agriculturist who lived in Peru, studied some species of the plant that were affected by the disease to a lesser extent and experimented in germination with the seeds of various cotton plants. In 1911, after 10 years of experimenting and failures, Tangüis was able to develop a seed which produced a superior cotton plant resistant to the disease. The seeds produced a plant that had a 40% longer (between 29 mm and 33 mm) and thicker fiber that did not break easily and required little water.[9] The Tangüis cotton, as it became known, is the variety which is preferred by the Peruvian national textile industry. It constituted 75 percent of all the Peruvian cotton production, both for domestic use and apparel exports. The Tangüis cotton crop was estimated at 225,000 bales that year